ตารางอักขระ ASCII
ตัวเลขเป็นภาษาของคอมพิวเตอร์ เมื่อต้องการติดต่อสื่อสารกับโปรแกรม (และกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น) คอมพิวเตอร์ของคุณจะแปลงอักขระและสัญลักษณ์เป็นตัวแทนสัญลักษณ์และอักขระที่เป็นตัวเลข
ในช่วงทศวรรษ 1960 ความต้องการที่จะทำให้การสื่อสารดังกล่าวเป็นมาตรฐานจึงทำให้เกิดโค้ดที่เรียกว่า American Standard Code for Information Interchange (ASCII) (อ่านว่าแอสกี) โดยตาราง ASCII ประกอบด้วยตัวเลข 128 ตัวซึ่งจะใช้แทนอักขระ ทั้งนี้ ASCII ให้วิธีที่คอมพิวเตอร์สามารถเก็บและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่นและโปรแกรมอื่นๆ ได้
ข้อความที่มีการจัดรูปแบบ ASCII จะไม่มีข้อมูลที่มีการจัดรูปแบบ เช่น ตัวหนา ตัวเอียง หรือแบบอักษร เมื่อคุณใช้ Microsoft Notepad หรือบันทึกแฟ้มเป็นข้อความธรรมดาใน Microsoft Office Word แล้ว ASCII จะถูกใช้งาน คุณอาจได้อ่านโฆษณาสำหรับการเปิดรับสมัครงานที่นายจ้างถามถึงประวัติย่อในรูปแบบ ASCII ซึ่งหมายความว่าไม่ว่าคุณจะส่งประวัติย่อของคุณในข้อความอีเมล โทรสาร หรือสำเนาที่พิมพ์ก็ตาม ผู้จ้างต้องการประวัติย่อของคุณที่ไม่มีลักษณะการจัดรูปแบบพิเศษ ข้อความที่มีการจัดรูปแบบ ASCII จะทำงานได้ดีกับซอฟต์แวร์การสแกนประเภทการรู้จำอักขระด้วยแสง (OCR) ที่บริษัทขนาดใหญ่หลายแห่งมักจะใช้เพื่อสแกนประวัติย่อ
แทรกอักขระ ASCII ลงในเอกสาร
นอกจากการพิมพ์อักขระด้วยแป้นพิมพ์ของคุณ คุณสามารถใช้โค้ดอักขระของสัญลักษณ์เป็นทางลัด หรือเมื่อสัญลักษณ์ไม่พร้อมใช้งานบนแป้นพิมพ์ที่คุณกำลังใช้งานอยู่
- หากต้องการแทรกอักขระ ASCII จากตารางด้านล่าง ให้กดแป้น ALT ค้างไว้พร้อมกับพิมพ์เลขฐานสิบที่ระบุไว้
ตัวอย่างเช่น เมื่อต้องการแทรกสัญลักษณ์องศา (?) ให้กด ALT ค้างไว้ในขณะที่พิมพ์ 0176 บนแป้นพิมพ์ตัวเลข
หมายเหตุ คุณต้องใช้แป้นพิมพ์ตัวเลขเพื่อพิมพ์ตัวเลข อย่าใช้แป้นพิมพ์ ตรวจสอบให้แน่ใจว่าแป้น NUM LOCK เปิดใช้งานอยู่เมื่อต้องพิมพ์ตัวเลขจากแป้นพิมพ์ตัวเลขนี้
ตัวเลข 32–126 ถูกกำหนดให้ใช้แทนอักขระที่คุณจะพบบนแป้นพิมพ์ และจะปรากฏขึ้นเมื่อคุณดูหรือสั่งพิมพ์เอกสาร ตัวเลข 127 ใช้แทนคำสั่ง DELETE
ตารางอักขระ ASCII ที่พิมพ์ได้
ฐานสิบ | อักขระ | ฐานสิบ | อักขระ | |
32 | ช่องว่าง | 80 | P | |
33 | ! | 81 | Q | |
34 | " | 82 | R | |
35 | # | 83 | S | |
36 | $ | 84 | T | |
37 | % | 85 | U | |
38 | & | 86 | V | |
39 | ' | 87 | w | |
40 | ( | 88 | X | |
41 | ) | 89 | Y | |
42 | * | 90 | Z | |
43 | + | 91 | [ | |
44 | , | 92 | \ | |
45 | - | 93 | ] | |
46 | . | 94 | ^ | |
47 | / | 95 | _ | |
48 | 0 | 96 | ` | |
49 | 1 | 97 | a | |
50 | 2 | 98 | b | |
51 | 3 | 99 | c | |
52 | 4 | 100 | d | |
53 | 5 | 101 | e | |
54 | 6 | 102 | f | |
55 | 7 | 103 | g | |
56 | 8 | 104 | h | |
57 | 9 | 105 | i | |
58 | : | 106 | j | |
59 | ; | 107 | k | |
60 | < | 108 | l | |
61 | = | 109 | m | |
62 | > | 110 | n | |
63 | ? | 111 | o | |
64 | @ | 112 | p | |
65 | A | 113 | q | |
66 | B | 114 | r | |
67 | C | 115 | s | |
68 | D | 116 | t | |
69 | E | 117 | u | |
70 | F | 118 | v | |
71 | G | 119 | w | |
72 | H | 120 | x | |
73 | I | 121 | y | |
74 | J | 122 | z | |
75 | K | 123 | { | |
76 | L | 124 | | | |
77 | M | 125 | } | |
78 | N | 126 | ~ | |
79 | ? | 127 | DEL |
เคล็ดลับ คุณสามารถอ้างอิงชุดอักขระเพิ่มเติมสำหรับแบบอักษรเฉพาะโดยใช้โปรแกรมผังแสดงชุดอักขระใน Microsoft Windows ได้ คลิก เริ่ม ชี้ไปยัง โปรแกรมทั้งหมด ชี้ไปยัง เบ็ดเตล็ด ชี้ไปยัง เครื่องมือสำหรับระบบ แล้วคลิก ผังอักขระ
อักขระ ASCII เพิ่มเติมสามารถตอบสนองความต้องการอักขระจำนวนมากขึ้นได้ อักขระที่เพิ่มเติมจะประกอบด้วยอักขระ 128 ตัวที่พบใน ASCII (ตัวเลข 0–32 ปรากฏในตารางด้านล่าง) และเพิ่มอักขระเพิ่มเติมอีก 128 ตัวรวมเป็น 256 ตัว แม้ว่าจะมีการเพิ่มเติมอักขระเข้าไปแล้ว หลาย ภาษาก็ยังมีสัญลักษณ์ที่ไม่สามารถบรรจุเข้าไปในอักขระทั้ง 256 ตัวได้ ด้วยเหตุนี้ อักขระ ASCII จึงมีความแตกต่างกันเพราะต้องมีอักขระและสัญลักษณ์ของแต่ละภูมิภาค
ตัวอย่างเช่น ตาราง ASCII หรือที่เรียกกันว่า ISO 8859-1 ถูกนำมาใช้ในโปรแกรมซอฟต์แวร์มากมายของภาษาต่างๆ ในอเมริกาเหนือ ยุโรปตะวันตก ออสเตรเลีย และแอฟริกา
ตารางอักขระ ASCII เพิ่มเติมที่พิมพ์ได้
ฐานสิบ | อักขระ | ฐานสิบ | อักขระ | |
128 | Ç | 192 | └ | |
129 | ü | 193 | ┴ | |
130 | é | 194 | ┬ | |
131 | â | 195 | ├ | |
132 | ä | 196 | ─ | |
133 | à | 197 | ┼ | |
134 | å | 198 | ╞ | |
135 | ç | 199 | ╟ | |
136 | ê | 200 | ╚ | |
137 | ë | 201 | ╔ | |
138 | è | 202 | ╩ | |
139 | ï | 203 | ╦ | |
140 | î | 204 | ╠ | |
141 | ì | 205 | ═ | |
142 | Ä | 206 | ╬ | |
143 | Å | 207 | ╧ | |
144 | É | 208 | ╨ | |
145 | æ | 209 | ╤ | |
146 | Æ | 210 | ╥ | |
147 | ô | 211 | ╙ | |
148 | ö | 212 | Ô | |
149 | ò | 213 | ╒ | |
150 | û | 214 | ╓ | |
151 | ù | 215 | ╫ | |
152 | ÿ | 216 | ╪ | |
153 | Ö | 217 | ┘ | |
154 | Ü | 218 | ┌ | |
155 | ¢ | 219 | █ | |
156 | £ | 220 | ▄ | |
157 | ¥ | 221 | ▌ | |
158 | P | 222 | ▐ | |
159 | ƒ | 223 | ▀ | |
160 | á | 224 | a | |
161 | í | 225 | ß | |
162 | ó | 226 | G | |
163 | ú | 227 | p | |
164 | ñ | 228 | S | |
165 | Ñ | 229 | s | |
166 | ª | 230 | µ | |
167 | º | 231 | t | |
168 | ¿ | 232 | F | |
169 | ⌐ | 233 | T | |
170 | ¬ | 234 | ? | |
171 | ½ | 235 | d | |
172 | ¼ | 236 | 8 | |
173 | ¡ | 237 | f | |
174 | « | 238 | e | |
175 | » | 239 | n | |
176 | ░ | 240 | ≡ | |
177 | ▒ | 241 | ± | |
178 | ▓ | 242 | ≥ | |
179 | │ | 243 | ≤ | |
180 | ┤ | 244 | ⌠ | |
181 | ╡ | 245 | ⌡ | |
182 | ╢ | 246 | ÷ | |
183 | ╖ | 247 | ≈ | |
184 | ╕ | 248 | ≈ | |
185 | ╣ | 249 | ∙ | |
186 | ║ | 250 | · | |
187 | ╗ | 251 | v | |
188 | ╝ | 252 | n | |
189 | ╜ | 253 | ² | |
190 | ╛ | 254 | ■ | |
191 | ┐ | 255 |
เคล็ดลับ คุณสามารถอ้างอิงชุดอักขระเพิ่มเติมสำหรับแบบอักษรเฉพาะโดยใช้โปรแกรมผังแสดงชุดอักขระใน Microsoft Windows ได้ คลิก เริ่ม ชี้ไปยัง โปรแกรมทั้งหมด ชี้ไปยัง เบ็ดเตล็ด ชี้ไปยัง เครื่องมือสำหรับระบบ แล้วคลิก ผังอักขระ
ตัวเลข 0–31 ในตาราง ASCII ถูกกำหนดให้เป็นอักขระควบคุม ซึ่งใช้เพื่อควบคุมอุปกรณ์ต่อพ่วงบางอย่าง เช่น เครื่องพิมพ์ ตัวอย่างเช่น 12 หมายถึงการเลื่อนกระดาษทีละหน้า/ขึ้นหน้าใหม่ คำสั่งนี้จะบอกให้เครื่องพิมพ์ข้ามไปยังต้นหน้าถัดไป
อักขระควบคุม ASCII ที่พิมพ์ไม่ได้
ฐานสิบ | อักขระ | ฐานสิบ | อักขระ | |
0 | Null | 16 | อักขระควบคุมการส่งข้อมูลเพิ่มเติม (data link escape) | |
1 | เริ่มหัวเรื่อง | 17 | ควบคุมอุปกรณ์ 1 | |
2 | เริ่มต้นข้อความ | 18 | ควบคุมอุปกรณ์ 2 | |
3 | สิ้นสุดข้อความ | 19 | ควบคุมอุปกรณ์ 3 | |
4 | สิ้นสุดการส่ง | 20 | ควบคุมอุปกรณ์ 4 | |
5 | สอบถาม | 21 | ไม่ยอมรับ | |
6 | ตอบรับ | 22 | อักขระควบคุมการส่งข้อมูลแบบพร้อมกัน (synchronous idle) | |
7 | สัญญาณเสียง | 23 | สิ้นสุดการบล็อกการส่ง | |
8 | เอาอักขระหน้าเคอร์เซอร์ออก | 24 | ยกเลิก | |
9 | เลื่อนไปยังแท็บหยุดในแนวนอน | 25 | สิ้นสุดสื่อ | |
10 | เลื่อนกระดาษทีละบรรทัด/ขึ้นบรรทัดใหม่ | 26 | แทนที่ | |
11 | เลื่อนไปยังแท็บหยุดในแนวตั้ง | 27 | อักขระควบคุมเพิ่มเติม (escape) | |
12 | เลื่อนกระดาษทีละหน้า/ขึ้นหน้าใหม่ | 28 | ตัวคั่นแฟ้ม | |
13 | ไปต้นบรรทัดใหม่ | 29 | ตัวคั่นกลุ่ม | |
14 | สลับไปเป็นชุดอักขระอื่น | 30 | ตัวคั่นระเบียน | |
15 | คืนค่าชุดอักขระเริ่มต้น | 31 | ตัวคั่นหน่วย |
ตารางของอักขระอื่นซึ่งใหม่กว่านี้เรียกว่า Unicode เนื่องจาก Unicode เป็นตารางที่ใหญ่กว่ามาก จึงมีอักขระถึง 65,536 ตัวเทียบกับ ASCII ที่มีเพียง 128 ตัว หรือ ASCII เพิ่มเติมที่มีอักขระทั้งสิ้น 256 ตัว ความจุที่มากขึ้นนี่เองที่ทำให้อักขระส่วนใหญ่ของภาษาต่างๆ สามารถรวมอยู่ในอักขระชุดเดียวได้
ASCII
เดิมการแทนรหัสฐานสองด้วยพยัญชนะในภาษา ต่างๆเป็นการกำหนดกันเอง ขึ้นอยู่กับว่า ใครพัฒนาขึ้นมาทำให้การส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างชนิดไม่ สามารถส่งผ่านกัน ได้เพราะใช้รหัสในเลขฐานสองไม่เหมือนกัน ดังนั้นเพื่อที่จะให้สื่อสารกันได้ จึงจำเป็นต้องมีการ กำหนดมาตรฐานของรหัสขึ้น สำหรับภาษาอังกฤษ เรียกว่า รหัสแอสกี้ (American Standard
Code Interchange,ASCII)
Code Interchange,ASCII)
รหัสที่เป็นมาตรฐาน คือ รหัส ASCII
American Standard Code For Information Interchange (ASCII) อ่านว่า แอส-กี้ เป็นรหัสที่พัฒนาขึ้นโดยสถาบันมาตรฐานแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (American National Standard Institute: ANSI อ่านว่า แอน-ซาย) เรียกว่า ASCII Code ซึ่งเป็นที่นิยมในกลุ่มผู้สร้างเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไป รหัสนี้ได้มาจากรหัสขององค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ (International Standardization Organization: ISO) ขนาด 7 บิท ซึ่งสามารถสร้างรหัสที่แตกต่างกันได้ถึง 128 รหัส (ตั้งแต่ 000 0000 ถึง 111 1111) โดยกำหนดให้ 32 รหัสแรกเป็น 000 0000 ถึง 001 1111 ทำหน้าที่เป็นสั่งควบคุม เช่น รหัส 000 1010 แทนการเลื่อนบรรทัด (Line Feed)ในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น และอีก 96 รหัสถัดไป (32-95) ใช้แทนอักษรและสัญลักษณ์พิเศษอื่นรหัส ASCII ใช้วิธีการกำหนดการแทนรหัสเป็นเลขฐานสิบ ทำให้ง่ายต่อการจำและใช้งาน นอกจากนั้นยังสามารถเขียนมนรูปของเลขฐานสิบหกได้ด้วย
ประวัติ
รหัสแอสกีมีใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ และเครื่องมือสื่อสารแบบดิจิทัลต่างๆ พัฒนาขึ้นโดยคณะกรรมการ X3 ซึ่งอยู่ภายใต้การดูแลของสมาคมมาตรฐานอเมริกา (American Standards Association) ภายหลังกลายเป็น สถาบันมาตรฐานแห่งชาติอเมริกา (American National Standard Institute : ANSI) ในปี ค.ศ. 1969 โดยเริ่มต้นใช้ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1967 ซึ่งมีอักขระทั้งหมด 128 ตัว (7 บิต) โดยจะมี 33 ตัวที่ไม่แสดงผล (unprintable/control character) ซึ่งใช้สำหรับควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์บางประการ เช่น การขึ้นย่อหน้าใหม่สำหรับการพิมพ์ (CR & LF - carriage return and line feed) การสิ้นสุดการประมวลผลข้อมูลตัวอักษร (EOT - end of text) เป็นต้น และ อีก 95 ตัวที่แสดงผลได้ (printable character) ดังที่ปรากฏตามผังอักขระ (character map) ด้านล่าง
รหัสแอสกีได้รับการปรับปรุงล่าสุดเมื่อ ค.ศ. 1986 ให้มีอักขระทั้งหมด 256 ตัว (8 บิต) สำหรับแสดงอักขระเพิ่มเติมในภาษาของแต่ละท้องถิ่นที่ใช้ เช่น ภาษาเยอรมัน ภาษารัสเซีย ฯลฯ โดยจะมีผังอักขระที่แตกต่างกันไปในแต่ละภาษาซึ่งเรียกว่า โคดเพจ (codepage) โดยอักขระ 128 ตัวแรกส่วนใหญ่จะยังคงเหมือนกันแทบทุกโคดเพจ มีส่วนน้อยที่เปลี่ยนแค่บางอักขระ
ตารางรหัสแอสกี
(ASCII - American Standard Code for Information Interchange)
(ASCII - American Standard Code for Information Interchange)
